วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่13วันที่ 30กันยายน 2553

อาจารย์ให้นักศึกษานำกระดาษลังมาเพื่อที่จะให้แต่ละคนได้ทำป้ายนิเทศ และหลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้ถามนักศึกษาทีละคนว่าใครจะทำอะไรบ้างจากนั้นนักศึกษาทุกคนก็ได้ลงมือทำงานของตัวเองอย่างตั้งใจแต่ละคนจมีความตั้งที่จะทำงานของตัวเองและจะมีความเอื้อเฝื้อต่อเพื่อนกันเป็นอย่างเมื่อเพื่อนคนไหนไม่มีอะไรเพื่อนแต่ละคนก็จะเป็นคนหามาให้ ภายในห้องในวันนั้นจะอบอุ่นมากเพราะเพื่อนทุกคนจะช่วยเหลือกันและเมื่อทำงานกันเสร็จทุกคนก็จะช่วยกันเก็บเศากระดาษที่ตกอยู่และจัดห้องเรียนอย่างเป็นระเบียบ

ครั้งที่12 วันที่ 23 กันยายน 2553

ไม่ได้ไปเรียน เนื่องจากไม่สบาย

ครั้งที่11 วันที่ 16 กันยายน 2553

อาจารย์ได้สั่งให้นักศึกษานำแป้งโดว์มาและอุปกรณ์ในการทำมาจากนั้นก็ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกันทำแต่ละกลุ่มก็ได้ลงมือทำกันอย่างสนุกสนานและภายในกลุ่มก็ได้มีความร่วมมือและมีความช่วยเหลือกันส่วนกลุ่มที่ขาดเหลืออะไรอีกกลุ่มก็จะแบ่งปั่นกัน และหลังที่ได้ลงมือทำกันเสร็จแล้วทุกคนก็ได้ช่วยกันเก็บกวาดห้องอย่างเป็นระเบียบและจัดห้องเรียนให้กลับมาเป็นเหมือนเดิม

ดังนั้น การที่เราได้ลงมือทำแงโดว์ทำให้เราได้ได้รู้วิธีการทำและวิธีการเล่นและเรายังสามารถทำได้เอง

ครั้งที่10 วันที่ 9 กันยายน 2553

อาจารย์ได้ให้นักศึกษาส่งงานที่ทำมาและหลังจากนั้นก็ได้สอบนักศึกษาการที่นักศึกษาได้ทำข้อสอบนี้ทำให้เราได้เกิดกระบวนการคิดในสิ่งที่เราได้ทำมาและเกิดทักษะ

ครั้งที่9 วันที่ 2 กันยายน 2553

อาจรย์ให้นักศึกษากลุ่ม101กับ102มาเรียนรวมกันเพื่อที่จะพูดเกี่ยวกับงานที่อาจารย์ได้สั่งไปและตรวจงานหลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาไปยู่บนห้องเรียนเพื่อที่จะให้นักศึกษาได้ศึกษาดูสื่อเกมการศึกษาที่อาจารย์ได้นำมาให้ในวันนี้จากนั้นก็ได้บอกวิธีการเล่นสื่อเกมการศึกษาแต่ล่ะอย่างให้ฟัง

จากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกันเล่นสื่อที่จารย์ได้เครียมมาให้เล่นและให้แต่ล่ะกลุ่มมาเอาเกมของแต่ล่ะกลุ่มไปและลงมือเล่นได้และหลังจากที่ได้เล่นเกมเสร็จแล้วอาจารย์ก็ได้ตรวจงานของแต่ล่ะคนส่วนคนไหนที่งานไม่ครบก็ให้เขียนชื่อไว้และในมาส่งในคาบหน้า

วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่8 วันที่ 19 กรกฏาคม 2553

อาจารย์เข้ามาพูดเรื่องการทำสื่อเมื่อวันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม ที่ผ่านมาและเซ็คซื้อคนที่ไม่ได้มาในวันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม ที่ผ่านมา อาจารย์ดูงานเรื่องสื่อที่อาจารย์ได้ให้ไปทำมาส่งจากนั้นก็พูดถึงการฝึกทำสื่อเพิ่มเต็ม เช่น การทำป๊อบอัพ ภาพเลื่อน หัวสัตว์ จากนั้นก็พูดเรื่องการทำ(เกมการศึกษา)ของแต่ล่ะคนเพิ่มเต็ม

วันเสาร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่7 วันที่ 29 กรกฏาคม 2553

อาจารย์ให้ดูเอกสารที่อาจารย์ให้มาเกี่ยวกับเกมการศึกษาจากนั้นเพื่อนในห้องก็นำเอกสารนั้นไปถ่ายเอกสารมาแจกเพื่อนๆในห้องแต่อาจารย์ไม่ได้อยู่ในห้องกับพวกเราเพราะอาจารย์ต้องไปทำเรื่องที่จะพาพวกเราไปดูงานแร้วหลังจากนั้นอาจารย์ก็เข้ามาในห้องได้สั่งงานให้ไปทำเกมการศึกษามาใส่ลงในบล็อกของตนเองแต่ห้ามให้เหมือนกับเพื่อนในห้องแต่ก่อนที่อาจารย์จะเข้ามาในห้องสถานการณ์ในห้องดูวุ้นวายไปหมด


ภาพประกอบเกมการศึกษา


วิธีเล่น

1. ให้เด็กดูภาพที่มันสัมพันธ์กัน
2. จากนั้นก็ให้เด็กจับคู่ภาพที่สัมพันธ์กัน
3. แล้วนำมาเรียงต่อกัน

จุดมุ่งหมาย

1. เพื่อฝึกให้เด็กได้รู้จักการสังเกต
2.เพื่อให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์
3. เพื่อให้เด็กได้รู้จักรู้ภาพต่างๆ

วันอาทิตย์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่6 วันที่ 22 กรกฏาคม 2553


ตัวอย่างเกมการศึกษา
ความสำคัญ
-ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เช่น การทำสีหน้าทำบัตรเป็นหน้ายิ้มกับหน้าบึ้ง
-ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
-รวดเร็ว, เพลิดเพลิน, เข้าใจง่าย
สักษณะของสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสมกับความสามารถของเด็ก,ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เลือกให้เหมาะสมกับสภาพของศูนย์
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา,ทันสมัย
-เด็กได้คิดเป็นทำเป็นกล้าแสดงออก
การประเมินการใช้สื่อ
(พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อเด็กและสื่อ)
+สื่อทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
+เด็กชอบสื่อนั้นมากน้อยเพียงใด

ครั้งที่5 วันที่ 15 กรกฏาคม 2553

วันนี้อาจารย์เข้ามาในห้องพูดถึงเรื่องการนำสื่อการเรียนการสอนและบอกความหมายเกี่ยวกับสื่อว่าสื่อคืออะไร



สื่อ หมายถึง สื่อตัวกลางที่เป็นเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา



หลังจากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนออกมานำเสนอเกี่ยวกับสื่อของตนเองให้อาจารย์ฟังและเพื่อนๆนักศึกษาในห้องได้ฟังว่าสื่อตัวนั้นที่นักศึกษานำมาต้องใช้กับเด็กในช่วงอายุเท่าไรและต่อเป็นรูปตรงใดได้บ้างและสื่อตัวนั้นทำให้เด็กได้เกิดการจิตนาการในเรื่องใดได้บ้างกับการที่เด็กได้เส่นสื่อตัวนี้และยังทำให้เด็กได้ฝึกกล้ามเนื้อมัดเล็ก ฝึกสติปัญญา







<การนำเสนอสื่อของดิฉันจัดอยู่ในกิจกรรมเสรี>








วันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่4 วันที่ 8 กรกฏาคม 2553


อาจารย์ให้นักศึกษาใส่ URL ของแต่ละคนลงใน Blogger ของอาจารย์หลังจากนั้นอาจารย์ก็พูดเกี่ยวกับเรื่องการารับน้องเมื่อปีที่แล้วว่าได้ทำอะไรกไปบ้างและหลังจากรับน้องเสร็จได้ทำกิจกรรมอะไรอีกบ้างซึ่งกิจกรรมมีดังนี้

- ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
- กิจกรรมรับน้อง
- บายสีสาขาการศึกษาปฐมวัย
- เข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรม
- ไหว้ครู
- ประกวดดาวเดือน
- กีฬาสีเทาเหลือง
- ลอยกระทง


หลังจากนั้นอาจารย์ก็เข้าสู่บทเรียน

กราฟประสบการณ์มี 11 กลุ่ม


ประสบการณ์ตรง

เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยก่รให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริง สถานการณ์จริง หรือด้วยการกระทำของตนเอง เช่น การจับต้องและการเห็นเป็นต้น


ประสบการณ์รอง

เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด ซึ่งอาจเป็นของจำลองหรือสถานการณ์จำลองก็ได้

ประสบการณ์นาฎหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเป็นเนื่องจากเป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อจำกัดด้วยยุคสมัย

การสาธิต

เป็นการแสดงหรือการกระทำคำอธิบายเพื่อให้เห็นขั้นตอนของการกระทำนั้น

ศึกษานอกสถานที

เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ ภายนอกสถานที่เรียน อาจเป็นการท่องเที่ยวการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ หรือการสัมภาษณ์เป็นต้น

นิทรรศการ

เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆ การจัดป้ายนิเทศให้สาระประโยคและความรู้แก่ผู้ชม

โทรทัศน์

โดยใช้ทั้งโทรทัศน์การศึกษาทางโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอนเพื่อ เพื่อให้ข้อมูลความรู้แกผู้เรียนหรือผู้ชมที่อยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้านและใช่ส่งได้ทั้งในระบบวงจรเปิดการสอนอาจจะเป็นการสอนสดหรืเป็นการบันทึกวีดีโอ

ภาพยนต์

เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ลงบนฟีมส์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ประสบการณ์ทั้งภาพและเสียงโดยใช้ประสาทตา และหู

การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง

เป็นได้ทั้งรูปของแผ่นเสียงหรือเทปบันทึกเสียง วิทยุเป็นสื่อที่ให้เฉพาะเสียง

ทัศนสัญสักษณ์

เช่น แผนที่ แผนสถิติ หรือเครื่องหมายต่างๆซึ่งเป็นสิ่งที่มีสัญสักษณ์แทนความเป็นจริงของสิ่งต่างๆ

วจนสัญสักษณ์

เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุดได้แก่ ตัวหนังสือให้ภาษาเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด

แนวคิดของบรูเนอร์ ( Jerom S. Bruner )

- กลุ่มการกระทำ ( Enactive )
- กลุ่มภาพ ( Iconic )
- กลุ่มนามธรรม (Abstracs )

แนวคิดของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอเมริกา

- สื่อการสอนประเภทวัสดุ ( Software or Material )
- สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์ ( Hardware )
- สื่อการสอนประเภทเทคนิควิธีการ ( Techniques and Methods )

หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอน

- แนวคิดการเลือกสื่อการเรียนการสอนของโรมิสซอว์สกี้

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกสื่อการเรียนการสอน
1. วิธีการสอน
2. งานการเรียนรู้
3. ลักษณะของผู้สอน
4. ข้อจำกันในการปฏิบัติ
5. ผู้สอนหรือครู

สรุปหลักการในการเลือกสื่อการเรียนการสอน

1. เลือกสื่อการสอนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
2. เลือกสื่อการสอนที่ตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
3. เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
4. เลือกสื่อการสอนให้เหมาะกับจำนวนผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน
5. เลือกสื่อการสอนที่เหมาะกับสะภาพแวดล้อม
6. เลือกสื่อการสอนที่มีลักษณะน่าสนใจ และดึงดูดความสนใจ
7. เลือกสื่อการสอนที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษา และบำรุงรักษาได้สะดวก

วันเสาร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่3 วันที่ 1 กรกฏาคม 2553

อาจารย์เข้ามาพูดเรื่องการทำบล็อกของเพื่อนแต่ละคนและให้ทุกคนเอา URL ของแต่ละคนมาใส่ลงในบล็อกของอาจารย์และบอกให้ทำบล็อกมาอย่างสมบูรณ์และให้ไปเพิ่มลิงก์ของเพื่อนแต่ละคนลงในบล็อกของตัวเอง

สื่อการเรียนการสอนหมายถึงสิ่งต่างๆที่เป็นส่วนของเทคโนโลยีการศึกษาเป็นพาหะที่จะนำสารหรือความรู้ไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์เป็นสื่อการสอน เพราะวีดีทัศน์เป็นตัวนำให้เกิดการเรียนรู้

ความหมายของสื่อการเรียนการสอน

หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา เช่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคนิควิธีการต่างๆ

คุณค่าสื่อการเรียนการสอน (สื่อกับผู้เรียน)

- ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เร็ว
- ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
- ทำให้เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ้งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและเกิดความรวบยอดในเรื่องนั้นได้ถูกต้อง
- ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก่ผู้เรียน และเกิดความคิด ประทับใจ จดจำได้นาน
- ช่วยให้การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ สามารถนำประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับสิ่งไหนได้ต่อเนื่องกับการทำงานทางสมองของสติปัญญาของนักทฤษฏีของเพียร์เจ
- ส่งเสริมความคิด การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
- ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น
- ผู้เรียนจะมีความเข้าใจในเนื้อหาได้ตรงกัน
- ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน
- ช่วยลดการบรรยายของครูผู้สอน
- ผู้สอนมีความตื่นตัวในการผลิตสื่อต่างๆ ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น

หลักการเลือกสื่อการสอน

1. สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2. เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัยน่าสนใจ
3. เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน
4. สื่อนั้นต้องสะดวกในการใช้ มีวิธีไม่ซับซ้อนยุ้งยากจนเกินไป
5. ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนและเป็นจริง
6. มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ้าจะผลิตเองควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน

ขั้นตอนในการใข้สื่อ

1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน เช่น รูปภาพ การเล่านิทาน
2. ขั้นดำเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน
3. ขั้นวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ
4. ขั้นสรุปบทเรียน
5. ขั้นประเมินผู้เรียน เช่น แบบบันทึกการตรวจผลงาน แบบบันทึกการตรวจเวลาเด็กเล่น

หลักการใช้สื่อการเรียนการสอน

1. เตรียมตัวผู้สอน เช่น ผู้สอนต้องเตรียมสื่อในการเรียนการสอน
2. เตรียมจัดสภาพแวดล้อม
3. เตรียมพร้อมผู้เรียน
4. การใช้สื่อ
5. การติดตามผล

หลักการใช้สื่อการเรียนและการวางแผนใช้สื่อการเรียนการสอน

การเลือกดัดแปลงหรือออกแบบสื่อ
(Select,Modify,or Design)
1. เลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว

การใช้สื่อ

- ดูหรืออ่านเนื้อหาในสื่อเหล่านั้นก่อนเป็นการเตรียมตัว
- จัดเตรียมสถานที่ ที่นั่งเรียน อุปกาณ์ เครื่องมือและสิ่งต่างๆ
- เตรียมตัวผู้เรียน โดยการใช้สื่อนำเข้าสู่บทเรียน
- ควบคุมชั้นเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนใจในสื่อที่นำเสนอนั้น

การเลือกสื่อการเรียนรู้

- สื่อสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายและเนื้อหาที่สอน
- ความเป็นไปได้ในการจัดหาและค่าใช้จ่าย
- ความสะดวกในการนำไปใช้
- สื่อต้องเหมาะสมกับวัยผู้เรียน

วันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2553

Lerning Materials for Elarly Chilhood เป็นแฟ้มสะสมงานในรายวิชาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

ครั้งที่2 วันที่ 24 มิถุนายน 2553

อาจารย์พูดเรื่องรายชื่อของนักศึกษาในห้องเรียนที่เรียนวิชานี้ว่ามีกี่คน
เรื่องประว้ติส่วนตัว เรื่องการแต่งกาย การใส่เสื้อชั้นใน เรื่องคุณธรรมจริยธรรม เรื่องการใส่รองเท้า เรื่องเสื้อฟิต เรื่องการทำบล็อก (Blogger)

อาจารย์ยกตัวอย่าง

-เรื่องการขี่จักรยานว่าก่อนที่เราจะขี่จักรยานเป็นเราต้องเจ็บแล้วก็เจ็บอีกเป็นหลายๆครั้งถึงเราจะขี่เป็น

การทำบล็อก

-ต้องใช้สื่อทางอินเทอร์เน็ต
-การใช้เทคดนโลยี โดยมี Blogger เป็นสื่อเพื่อให้เกิดการเรียนรู้

สื่อหมายถึงอะไร

-การยกตัวอย่างเรื่องการทำบล็อก
-การขี่จักรยาน

คำนิยามของสื่อ2ตัว

-สื่อหมายถึงการจัดการเรียนการสอน
-สื่อก็คือตัวกลาง ข้อมูลข่าวสาร ภ่ายทอดทักษะ ภ่ยทอดความสามารถ

การใช้สื่อเกี่ยวกับเด็กแรกเกิดถึง 6ปี หรือ 5ปีอัป
พัฒนาการคือ

-เป็นการเปลี่ยนแปลงของเด็กที่มีพัฒนาไปตามลำดับ

นักทฤษฏี

-ฟอรเบล : มีทฤษฏีว่าเด็กเกิดการเรียนรู้จากการเล่น
-อิริคสัน : จะมีการพัฒนาทางด้านสังคม
-เพียร์เจ : จะมีการพัฒนาเรื่องการใช้สติปัญญา
-ฟรอย : จะเชื่อเรื่องอารมณ์จิตใจ
-บลูเนอร์ : เรื่องอารมณ์สติปัญญา

หลังจากนั้นอาจารยืก็ให้นักศึกษาจัดกลุ่มกันคิดในหัวข้อที่อาจารย์ให้มาซึ้งมีหัวข้อดังนี้

1.เด็กปฐมวัยในความคิดเห็นของแต่ละคนคืออะไร?
2.เราจะไปศึกษาในเรื่องใดถึงจะรู้จักเด็กเป็นอย่างไร?
3.เด็กปฐมวัยมีวิธีการเรียนรู้อย่างไร?
4.นักทฤษฏีที่พอจะจำได้มีใครบ้าง

จะมีสมาชิทั้งหมดในกลุ่มอยู่6คน

สมาชิกในกลุ่ม (เบบี้ เบบี้)

1.นางสาวพรรณณิดา ห่อทรัพย์ ประธาน
2.นางสาวหฤทัยทิพย์ ทองศิริ รองประธาน
3.นางสาวปิยะนุช อินทร์นวน กรรมการ
4.นางสาวมุกดา ยางแก กรรมการ
5.นางสาวราฟีต้า หมายเก กรรมการ
6.นางสาวจริยา นพพันธ์ เลขานุการ

แต่เมื่อเราจับกลุ่มกันเสร็จแร้วก้มีปัญหาเกิดขึ้นเพาระอาจารย์ให้จับกลุ่มละ5คนแต่กลุ่มของดิฉันมีสมาชิกอยู่ด้วยกัน6คนแต่เราก็แก้ปัญหานั้นได้ด้วยดีโดยมีกลุ่ม5คน5กลุ่มและ6คนหนึ่งกลุ่มค่ะ

วันพุธที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2553

Learning Materials for Early Chilbood เป็นแฟ้มสะสมผลงสนในรายวิชาสื่อเพื่อการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย

ครั้งที่ 1วันที่ 17 มิถุนายน 2553

สวัสดีค่ะวันี้ดิฉันได้เข้าเรียนในรายวิชาสื่อเพื่อการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย อาจารย์มอบหมายงานให้ไปทำประวัติส่วนต้วของตัวเองมาคนละหนึ่งใบ และพูดเรื่องการจัดตั้งชุมนมของเกปฐมวัย

งานที่ได้รับมอบหมาย

-ให้ไปทำบล็อกมาส่งทางอินเทอร์เน็ต และส่วนประกอบของบล็อกครวจะมีรูปภาพตัวเอง มีนาฬกา ปฏิทิน

ด้านวินัย

-ด้านวินัยในตัวเองก็ควรจะรู้จักหน้าที่ของตัวเองตรงต่อเวลา
-มีความรับผิดชอบเวลาอาจารย์มอบหมายงายให้ไปทำ
-การเข้าเรียน

เข้าเรียน

-เช้า 08.30 น.
-lat 08.45 น.
สายได้09.00 น.หลังจากนั้นถือว่าสาย

ความเข้าใจในตัวเองว่าสื่อคืออะไร

-การจัดทำของเล่นเกี่ยวกับเด็ก
-การจัดทำบล็อกของเล่น
-การใช้เทคโนโลยี